วันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2553

ต่อ

ตรงไปตรงมา ถนัดเรื่องลับลวงพรางและปิดบังเส้นสายพรรคพวกของตน ชอบเล่นพรรคเล่นพวกและการประจบสอพลอจากผู้ใต้บังคับบัญชา เป็นพวกเจ้ายศเจ้าอย่างทำตัวเหมือนเป็นเชื้อพระวงศ์ ที่ไม่ส่งเสริมทหารอาชีพแบบที่ตนเองได้เคยเป็นมา เป็นคนพูดน้อย ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จะให้สัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนน้อยมาก จนถูกหนังสือพิมพ์ในขณะนั้นเรียกขานว่า เตมีย์ใบ้
ส่วนใหญ่แล้วพลเอกเปรมก็ตั้งหน้าประจบประแจงตั้งใจทำงานถวายหัวให้ราชวงศ์จักรีและเทิดทูนในหลวงภูมิพลเป็นชีวิตจิตใจกลายเป็นตัวแทนของวังที่ชัดเจน เห็นได้จากการแต่งตั้งผบ.ทบ.ในเดือนสิงหาคม ในเดือนสิงหาคม 2521 เมื่อนายกเกรียงศักดิ์เตรียมเสนอชื่อพลเอกเสริม ณ นครที่จัดว่ากลางๆทางการเมืองให้ควบตำแหน่งผบ.สูงสุดและผบ.ทบ. แต่มรว.คึกฤทธิ์ได้เขียนลงสยามรัฐสนับสนุนพลเอกเปรมว่า”ผมคิดว่าคนที่น่าจะเป็นผบ.ทบ.ก็คือ เปรม ติณสูลานนท์” ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นการส่งสัญญาณสนับสนุนจากวัง และหกวันหลังจากนั้นนายกเกรียงศักดิ์ก็เสนอชื่อพลเอกเปรมเป็นผบ.ทบ.และให้พลเอกเสริมเป็นแค่ผบ.สูงสุดที่มีอำนาจน้อยกว่า เพราะพลเอกเสริมมีท่าทีที่ค่อนข้างเป็นกลางไม่ใช่พวกที่ทำงานถวายหัวให้วังอย่างเต็มที่และอาจเป็นเพราะตระกูล ณ นครสืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าตากสินที่ถูกต้นตระกูลของราชวงศ์จักรีแย่งชิงราชสมบัติ การแต่งตั้งพลเอกเปรมเป็นผบ.ทบ.ในครั้งนี้เท่ากับว่าพลเอกเปรมได้เลื่อนข้ามหัวนายทหารที่มีอาวุโสกว่าหลายคนและในหลายปีต่อมาพลเอกเปรมก็ยังได้โยกย้ายคนของตนเองเข้ามากุมตำแหน่งสำคัญๆในกองทัพ ทำให้เขามีอำนาจต่อรองในวุฒิสภาที่เต็มไปด้วยทหารสายพลเอกเปรมและเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลเกรียงศักดิ์ไม่ค่อยมั่นคงแข็งแกร่งเพราะมีกลุ่มนายทหารที่ต้องการแข่งขันแย่งอำนาจกันและเขาไมมีฐานสนับสนุนจากส.ส.ที่แข็งแกร่งหรือจากวัง ทั้งยังมีคู่ูแขงที่น่ากลัวอยางมรว.คึกฤทธิ์ หัวหนาพรรคกิจสังคมซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้าน ขณะเดียวกัน รัฐบาลเกรียงศักดิ์ยังประสบความลมเหลวในการแก่ปญหาของประเทศในขณะนั้น เช่นปญหาน้ำมันแพง, เศรษฐกิจตกต่ำ,และภัยอันอาจเกิดจากการรุกรานของเวียตนามต่อกัมพูชา สถานการณเหลานี้นำไปสู่การฉวยโอกาสของพระเจ้าอยู่หัวที่จะผลักดันพลเอกเปรมขึ้นมาแทนนายกเกรียงศักดิ์และเปนตัวแทนของพระองค์ในการเลนการเมืองอย่างนายธานินทร์ที่เคยเป็นร่างทรงให้กับวัง แต่คราวนี้จะใช้ขุนทหารอย่างพลเอกเปรมที่กุมอำนาจของกองทัพไว้ในมือด้วย ในสถานการณ ที่รัฐบาลเกรียงศักดิ์กำลังตกอับ เปรมและวังก็ได้โอกาสถล่มรัฐบาลเกรียงศักดิ์ โดยพลเอกเปรมได้ยกเลิกกำหนดการติดตามพระราชินีและฟ้าชายเสด็จสหรัฐอย่างกระทันหันในตน เดือน มกราคม 2523 พรอมกับวิจารณ์โจมตีรัฐบาลเกรียงศักดิ์อย่างหนัก เช่น เรื่องปัญหาน้ำมันขึ้นราคา ขณะที่พลตรีสุตสายไดใชโอกาสในการประทวงตอตานคอมมิวนิสต์ของกระทิงแดงทำการปราศัยโจมตีรัฐบาลเกรียงศักดิ์ในวันที่ 24 มกราคม 2523 การที่ทางวังให้พลเอกเปรมติดตามพระราชินีสิริกิติ์และฟ้าชายเสด็จเยือนสหรัฐเป็นเวลาสามเดือนเป็นการประกาศให้เห็นว่าพลเอกเปรมเป็นคนของวังที่รับใช้เจ้าโดยตรง ทั้งๆที่พลเอกเปรมเป็นผบ.ทบ.แต่วังให้ตามเสด็จเป็นเวลาถึงสามเดือน แทนที่จะเฝ้าระวังสถานการณ์ตึงเครียดจากการที่ทหารเวียตนามกำลังประจันหน้ากองทัพไทยแค่ข้ามพรมแดนไทย-กัมพูชา มรว.คึกฤทธิ์ หัวหน้าพรรคกิจสังคมก็มองเห็นโอกาสที่ตนจะกลับมาเป็นนายกฯอีกครั้งจึงยื่นเรื่องขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลเกรียงศักดิ์ในตนเดือนกุมภาพันธ 2523 และกลุ่มยังเติรกที่เคยหนุนเกรียงศักด์ขึ้นสู่อำนาจ ก็ไดหันมาสนับสนุนเรียกร้องให้พลเอกเปรมขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีคนต่อไป ทั้งๆที่พลเอกเปรมไม่ใชคู่แข่งขันทางการเมืองอย่างเป็นทางการแต่อย่างใด
มาถึงขั้นนี้ทางวังตองการให้มีการเปลี่ยนผานอํานาจทางการเมืองอยางแนบเนียนและราบลื่นเพราะถ้าใช้วิธีรัฐประหารแบบสมัย 6 ตุลา 2519 ก็จะทำให้ประเทศพันธมิตรติฉินนินทาได้ แต่ถ้าจะปล่อยให้นายกเกรียงศักด์ชิงยุบสภาเสียก่อนเพื่อเปดโอกาสให้มีการเลือกตั้งทั่วไป ก็จะมีความเสี่ยงว่าผู้นำรัฐบาลคนตอไปอาจไมไดมาจากกลุ่มนายทหารของวังและไม่มีอะไรประกันว่าจะได้มรว.คึกฤทธิ์แทน ทำให้ต้องมีการโปรดเกล้าฯให้นายกเกรียงศักดิ์และพลเอกเปรมเข้าเฝ้าฯที่เชียงใหม่ในวันที่ 28 กุมภาพันธ 2523 ในวันถัดมา นายกเกรียงศักดิ์ก็ลาออกโดยไม่ยุบสภาและพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงสั่งให้มรว.คึกฤทธิ์ที่กำลังหัวเสียต้องเรียกประชุมสภาเพื่อสนับสนุนพลเอกเปรมเป็นนายกฯ การเปลี่ยนแปลงนายกรัฐมนตรีครั้งนี้ดูเหมือนจะเป็นไปตามครรลองประชาธิปไตย แต่ที่จริงก็คือการรัฐประหารโดยพระเจ้าอยู่หัวนั่นเอง และชัดเจนยิ่งขึ้นเมื่อพลเอกเปรมไดกลาวคําปฎิญาณตนในการเขารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 3 มีนาคม 2523 วา